พระอภิธรรมเบื้องต้น


 🙏 พระอภิธรรมเบื้องต้น

พระอภิธรรมเปรียบเสมือนแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา มีเนื้อหาสุขุมล้ำลึกอันนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจในเรื่องธรรมชาติของชีวิต เรื่องของกรรมและการส่งผลของกรรม เรื่องภพภูมิต่างๆ เรื่องของการเวียนว่ายตายเกิดและเรื่องของการปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดซึ่งเป็นจุดหมายอันสูงสุดในพระพุทธศาสนา ในที่นี้เป็นการปูพื้นฐานเพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในเบื้องต้นเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาและเนื้อหาของพระอภิธรรม อันจะนำไปสู่การศึกษาที่ละเอียดลึกซึ้งต่อไป

พระอภิธรรมเบื้องต้น ตามหลักสูตรพระอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย

หมวดที่ ๐๑ พระอภิธรรมคืออะไร
๑. ประวัติพระอภิธรรม
๒. ประโยชน์จากพระอภิธรรม
๓. ปรมัตถและบัญญัติ
๔. พระอภิธัมมัตถสังคหะ

หมวดที่ ๐๒ ชีวิต
๑. ชีวิตคืออะไร
๒. จิตคืออะไร
๓. ที่เกิดและอำนาจของจิต
๔. บุญบาปเกิดขึ้นได้อย่างไร
๕. ลักษณะของจิต

หมวดที่ ๐๓ จิต
๑. ประเภทของจิต
๒. กามาวจรจิต ๕๔ ดวง
๓. รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง
๔. อรูปาวจรจิต ๑๒ ดวง
๕. โลกุตตรจิต ๘ ดวง

หมวดที่ ๐๔ เจตสิก 
๑. เจตสิก ๕๒ ดวง
๒. เจตสิกกลุ่มที่ ๑
๓. เจตสิกกลุ่มที่ ๒
๔. เจตสิกกลุ่มที่ ๓

หมวดที่ ๐๕ รูปปรมัตถ์ 
นัยที่ ๑ รูปสมุทเทสนัย
นัยที่ ๒ รูปวิภาคนัย
นัยที่ ๓ รูปสมุฏฐานนัย
นัยที่ ๔ รูปกลาปนัย
นัยที่ ๕ รูปปวัตติกมนัย

หมวดที่ ๐๖ ภพภูมิ
๑. ความเป็นไปในสังสารวัฏ
๒. ภพภูมิทั้ง ๓๑ ภูมิ
๓. นรกภูมิ
๔. ดิรัจฉานภูมิ
๕. เปรตภูมิ
๖. อสุรกายภูมิ
๗. มนุษยภูมิ
๘. เทวภูมิ
๙. รูปาวจรภูมิ
๑๐. อรูปาวจรภูมิ
๑๑. อายุของสัตว์ในภูมิทั้ง ๓๑

หมวดที่ ๐๗ กฎแห่งกรรม
ความรู้เบื้องต้นของกรรม
กรรมหมวดที่ ๑
    ๑.๑ ชนกกรรม
    ๑.๒ อุปัตถัมภกกรรม
    ๑.๓ อุปปีฬกกรรม
    ๑.๔ อุปฆาตกกรรม

กรรมหมวดที่ ๒
    ๒.๑ ครุกกรรม
    ๒.๒ อาสันนกรรม
    ๒.๓ อาจิณณกรรม
    ๒.๔ กฏัตตากรรม

กรรมหมวดที่ ๓
    ๓.๑ ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม
    ๓.๒ อุปปัชชเวทนียกรรม
    ๓.๓ อปราปริยเวทนียกรรม
    ๓.๔ อโหสิกรรม

กรรมหมวดที่ ๔
    ๔.๑ อกุศลกรรม
        ๔.๑.๑ กายทุจริต ๓
        ๔.๑.๒ วจีทุจริต ๔
        ๔.๑.๓ มโนทุจริต ๓
    ๔.๒ กามาวจรกุศลกรรม
        ๔.๒.๑ บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
    ๔.๓ รูปาวจรกุศลกรรม
    ๔.๔ อรูปาวจรกุศลกรรม

หมวดที่ ๐๘ สมุจจยสังคหะ
๑. อกุศลสังคหะ (ธรรมที่เป็นบาปล้วนๆ)
๒. มิสสกสังคหะ (ธรรมที่เป็นเหตุของการทำบุญ, ทำบาป, อพยากตะ)
๓. โพธิปักขิยสังคหะ (ธรรมที่จะทําให้เข้าถึงมรรคผล)
๔. สัพพสังคหะ (ธรรมที่สงเคราะห์จิต เจตสิก รูป นิพพาน)

หมวดที่ ๐๙ สมถกรรมฐาน
๑. ความรู้เบื้องต้นของกรรมฐาน
๒. รูปฌาน อรูปฌาน
๓. ประโยชน์ของสมาธิ
๔. กสิณ ๑๐
๕. อสุภะ ๑๐
๖. อนุสสติ ๑๐
๗. อัปปมัญญา ๔
๘. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑
๙. จตุธาตุววัฏฐาน ๑
๑๐. อรูปกรรมฐาน ๔

หมวดที่ ๑๐ วิปัสสนากรรมฐาน
๑. สติปัฏฐาน
    ๑.๑ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ๑.๒ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ๑.๓ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ๑.๔ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๒. วิสุทธิ ๗
๓. ลักษณะ ๓
๔. อนุปัสสนา 
๕. ญาณ ๑๖


🙏 พระอภิธัมมัตถสังคหะ

ปริเฉทที่ ๑ จิตปรมัตถ์
ความเบื้องต้น

ปริเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค
    - จำนวนของเจตสิก
    - แสดงการจำแนกเจตสิกโดยราสี
    - อนุตตรสังคหนัย
    - มหัคคตสังคหนัย
    - กามาวจรโสภณสังคหนัย
    - อกุศลสังคหนัย
    - สัพพากุศลโยคีเจตสิก
    - อเหตุกสังคหนัย

ปริเฉทที่ ๓ ปกิณณกสังคหวิภาค
   - อารัมมณานุภวนลักขณนัย
   - อินทริยเภทนัย
   - แสดงการจำแนกจิตโดยเหตุ
   - แสดงการจำแนกเจตสิกที่ประกอบกับเหตุ
   - การนับจำนวนเหตุโดยพิสดาร
    - แสดงกิจของจิต ๑๔
    - แสดงการจำแนกกิจ ๑๔ โดยจิต
    - แสดงการจำแนกเจตสิก ๕๒ โดยกิจ ๑๔ 
    - แสดงฐานของจิต
    - แสดงการจำแนกจิตโดยกิจและฐาน
ทวารสังคหะ
แสดงทวาริกจิต และทวารวิมุตตจิต
เจตสิก กับ ทวาร
จำแนกเจตสิกโดยทวาร
อารัมมณสังคหะ
ความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์ ๖ กับทวาร
แสดงจิตที่รับอารมณ์แน่นอนและไม่แน่นอน
จิตที่รับกามอารมณ์
จิตที่รับมหัคคตอารมณ์
จิตที่รับบัญญัติอารมณ์
จิตที่รับโลกุตตรอารมณ์
กรรมอารมณ์
กรรมนิมิตอารมณ์
คตินิมิตอารมณ์
อารมณ์พิสดาร
แสดงอารมณ์พิสดาร ๒๑ ประเภท
แสดงการจำแนกจิตที่รับอารมณ์โดยพิสดาร
การรับอารมณ์ของจิต
เจตสิก กับ อารมณ์
วัตถุสังคหะ
วัตถุ ๖
ภูมิ ๓๐ วัตถุรูป ๖ และวิญญาณธาตุ ๗
ภูมิ กับ วัตถุ
จิต กับ วัตถุ.
เจตสิก กับ วัตถุรูป
วัตถุ กับ ทวาร

พระไตรปิฎกย่อ

⛒ อภิธรรมปิฎก ๗ คำภีร์ (ย่อ)

ธัมมสังคณี ว่าด้วยธรรมะรวมเป็นหมวดเป็นกลุ่ม
เล่มที่ ๓๔ ชื่อธัมมสังคณี รวมกลุ่มธรรมะ
วิภังค์ ว่าด้วยธรรมะแยกเป็นข้อๆ
เล่มที่ ๓๕ ชื่อวิภังค์ แยกกลุ่มธรรมะ
ธาตุกถา ว่าด้วยธรรมะจัดระเบียบความสัมพันธ์โดยถือธาตุเป็นหลัก
ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยบัญญัติ  ๖ ชนิด และแสดงรายละเอียดเฉพาะบัญญัติอันเกี่ยวกับบุคคล 
เล่มที่ ๓๖ ชื่อธาตุกถาและปุคคลบัญญัติ
กถาวัตถุ ว่าด้วยคำถามคำตอบในหลักธรรมประมาณ ๒๑๙ หัวข้อ เพื่อถือเป็นหลักในการตัดสินพระธรรม
เล่มที่ ๓๗ ชื่อกถาวัตถุ
ยมก ว่าด้วยธรรมะที่รวมเป็นคู่ๆ
เล่มที่ ๓๘ ชื่อยมก ภาคที่ ๑
เล่มที่ ๓๙ ชื่อยมก ภาคที่ ๒

ปัฎฐาน ว่าด้วยปัจจัยสิ่งที่เกื้อหนุน ๒๔ ปัจจัย
เล่มที่ ๔๐ ชื่อปัฎฐาน ภาคที่ ๑
เล่มที่ ๔๑ ชื่อปัฎฐาน ภาคที่ ๒
เล่มที่ ๔๒ ชื่อปัฎฐาน ภาคที่ ๓
เล่มที่ ๔๓ ชื่อปัฎฐาน ภาคที่ ๔
เล่มที่ ๔๔ ชื่อปัฎฐาน ภาคที่ ๕
เล่มที่ ๔๕ ชื่อปัฎฐาน ภาคที่ ๖





วิกิ

ผลการค้นหา