(ระหว่างจัดทำ ๑๐/๙/๒๕๖๔)
คำว่า วิสุทธิ์ หมายเอาพระนิพพานอันเป็นจุดหมายปลายทางของพระพุทธศาสนา พระนิพพานที่ได้ชื่อเช่นนั้น โดยความหมายว่า เป็นสภาพที่บริสุทธิ์หมดจดกิเลสมลทินโดยสิ้นเชิง คำว่า มัคค หมายความว่า หนทาง หรือ อุบายเป็นเครื่องส่งให้ถึง เมื่อรวมเข้าเป็นคำเดียวกันว่า วิสุทธิมัคค ก็ได้ความ หมายว่า ทางสู่พระนิพพาน หรือ อุบายเป็นเครื่องส่งให้ถึงพระนิพพาน
ผู้ที่อ่านหรือเรียนคัมภีร์วิสุทธิมรรค จึงได้ชื่อว่าอ่านหรือตรวจดูแผนที่ อันชี้บอกทางสู่พระนิพพาน ผู้ที่ลงมือปฏิบัติตามแผนที่ ได้แก่ พยายามรักษาศีลตามเพศภูมิของตนให้บริสุทธิ์ แล้วเจริญภาวนาสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน ได้ชื่อว่ากำลังเดินไปในทางสู่พระนิพพาน เมื่อได้ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานลุถึงขั้น ญาณทัสสนวิสุทธิ์ แล้ว ได้ชื่อว่า เดินไปถึงจุดหมายปลายทาง คือลุถึงพระนิพพานแล้ว
🙏 คัมภีร์วิสุทธิมรรค 🙏
🔅ปริจเฉทที่ ๑ สีลนิเทศ แสดงถึงการรักษาศีล
🅞 ปัญหาเรื่องศีล (๑, ๒)
🅞 อธิบายปาติโมกขสังวรศีล
🅞 อธิบายอินทรียสังวรศีล
🅞 อธิบายอาชีวปาริสุทธิศีล
🅞 อธิบายปัจจยสันนิสิตศีล
🅞 ธรรมเป็นเหตุให้ปาริสุทธิศีล ๕ สำเร็จ
🅞 การบริโภค ๔ อย่าง
🅞 อธิบายศีล ๕ อย่าง หมวดที่ ๑
🅞 อธิบายศีล ๕ หมวดที่ ๒
🅞 ความเศร้าหมองของศีล
🅞 ความผ่องแผ้วของศีล
🅞 โทษแห่งศีลวิบัติ
🅞 อานิสงส์ของศีลสมบัติ
🔅ปริจเฉทที่ ๒ ธุตังคนิเทศ แสดงถึงวิธีการบำเพ็ญธุดงควัตร
🔅ปริจเฉทที่ ๓ กัมมัฏฐานคหณนิเทศ แสดงถึงบุพกิจเบื้องต้นก่อนการเจริญสมถกรรมฐาน
🔅 ปริจเฉทที่ ๔ ปฐวีกสิณนิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญปฐวีกสิณ โดยละเอียด
🔅ปริจเฉทที่ ๕ เสสกสิณนิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญกสิณ ที่เหลืออีก ๙ ประการ
🔅ปริจเฉทที่ ๖ อสุภกัมมัฏฐานนิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญอสุภกรรมฐาน ๑๐ ประการ
-อุทธุมาตกอสุภ
-วินีลกอสุภ
-วิปุพพกอสุภ
-วิจฉททกอสุภ
-วิกขายิตกอสุภ
-วิกขิตตกอสุภ
-หตวิกขิตตกอสุภ
-โลหิตกอสุภ
-ปุฬวกอสุภ
-อัฏฐิกอสุภ
🔅ปริจเฉทที่ ๗-๘ อนุสสตินิเทศและอนุสสติกัมมัฏฐานนิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญอนุสสติกรรมฐาน ๑๐ ประการ-กำหนดนิมิตโดยอาการ ๑๑ อย่าง
-พุทธานุสสติ
-ธัมมานุสสติ
-สังฆานุสสติ
-สีลานุสสติ
-จาคานุสสติ
-เทวตานุสสติ
-มรณานุสสติ
-กายคตาสติ
-อานาปานสติ
-อุปสมานุสสติ
🔅ปริจเฉทที่ ๙ พรหมวิหารนิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญพรหมวิหารกรรมฐาน ๔ ประการ
🅞 พรหมวิหาร ๔
-เมตตาภาวนา
-กรุณาภาวนา
-มุทิตาภาวนา
-อุเบกขาภาวนา
🔅ปริจเฉทที่ ๑๐ อารุปปนิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญอรูปกรรมฐาน ๔ ประการ
-อากาสานัญจายตน
-วิญญาณัญจายตน
-อากิญจัญญายตน
-เนวสัญญานาสัญญายตน🔅ปริจเฉทที่ ๑๑ สมาธินิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญา
-พิจารณาความปฏิกูลโดยอาการ ๑๐
🔅ปริจเฉทที่ ๑๒ อิทธิวิธนิเทศ แสดงถึงวิธีการแสดงฤทธิ์ต่างๆ ๑๐ ประการ อันเป็นผลมาจากการเจริญสมถกรรมฐาน
🅞 อภิญญากถา
🅞 การฝึกฝนจิตโดยอาการ ๑๔
🅞 ฤทธิ์ ๑๐
🅞 อธิฏฐานาอิทธิ
🅞 วิกุพพนาอิทธิ
🅞 มโนมยาอิทธิ
🅞 ญาณวิปผาราอิทธิ
🅞 สมาธิวิปผาราอิทธิ
🅞 อริยาอิทธิ
🅞 กัมมวิปากชาอิทธิ
🅞 ปุญญวโตอิทธิ
🅞 วิชชามยาอิทธิ
🅞 อิชฌนัฏเฐนอิทธิ
🅞 มูลของฤทธิ์ ๑๖
🅞 วิกุพพนาและมโนมยาฤทธิ์
🔅ปริจเฉทที่ ๑๓ อภิญญานิเทศ แสดงถึงอภิญญา ๖ ประการ อันเป็นผลจากการเจริญสมถกรรมฐาน
🅞 ทิพพโสตธาตุกถา
🅞 เจโตปริยญาณกถา
🅞 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา
🅞 เหตุอสงไขยสลาย
🅞 กัป ๔
🅞 อสงไขย ๔
🅞 จุตูปปาตญาณกถา
🅞 ความเบ็ดเตล็ดในอภิญญา
🔅ปริจเฉทที่ ๑๔ ขันธนิเทศ แสดงถึงขันธ์ ๕ อันเป็นภูมิของวิปัสสนากรรมฐาน
🅞 ปัญญากถา
🅞 ปัญญามีกี่อย่าง
🅞 ภูมิของปัญญา
🅞 รูปขันธ์
🅞 เวทนาขันธ์
🅞 สัญญาขันธ์
🅞 สังขารขันธ์
🅞 ขันธวิภาคอีกนัยหนึ่ง
🅞 นัยสำหรับวินิจฉัยขันธ์ ๖ ประการ
🔅ปริจเฉทที่ ๑๕ อายตนธาตุนิเทศ แสดงถึงอายตนะ ๑๒ และ ธาตุ ๑๘ อันเป็นภูมิของวิปัสสนากรรมฐาน
🅞 อายตนนิเทศ
🅞 ธาตุนิเทศ
🔅ปริจเฉทที่ ๑๖ อินทริยสัจจนิเทศ แสดงถึงอินทรีย์ ๒๒ และอริยสัจ ๔ อันเป็นภูมิของวิปัสสนากรรมฐาน
🅞 อินทรียนิเทศ
🅞 สัจจนิเทศ
🅞 ทุกขนิเทศ
🅞 ทุกขสมุทยนิเทศ
🅞 ทุกขนิโรธนิเทศ
🅞 ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทานิเทศ
🔅ปริจเฉทที่ ๑๗ ปัญญาภูมินิเทศ แสดงถึงปฏิจจสมุปบาท ๑๒ ประการ อันเป็นภูมิของวิปัสสนากรรมฐาน
🅞 ปฏิจจสมุปปาทกถา
🅞 ปัจจัย ๒๔
🅞 ปฏิจจสมุปบาท
🅞 สังขารเป็นปัจจัยแห่งวิญญาณ
🅞 วินิจฉัยโดยวิภาค
🅞 โดยปัจจยนัย
🅞 สฬายตนะเป็นปัจจัยแก่ผัสสะ
🅞 ตัณหาเป็นปัจจัยแก่อุปาทาน
🅞 อุปาทานเป็นปัจจัยแก่ภพ
🅞 ภพเป็นปัจจัยแก่ชาติ
🅞 ภวจักร - ล้อแห่งภพ
🅞 ความรู้เบ็ดเตล็ดในภวจักร
🔅ปริจเฉทที่ ๑๘ ทิฏฐิวิสุทธินิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนเห็นรูปนามตามความเป็นจริง
🅞 นามรูปปริคคหญาณ
🅞 นามรูปววัฏฐาน หรือ สังขารปริจเฉท
🅞 กำหนดนามและรูปทางธาตุ ๔
🅞 กำหนดนามและรูปทางธาตุ ๑๘
🅞 กำหนดนามและรูปทางอายตนะ ๑๒
🅞 กำหนดนามและรูปทางขันธ์ ๕
🅞 กำหนดนามและรูปโดยสังเขป
🅞 อุปมานามและรูป
🔅ปริจเฉทที่ ๑๙ กังขาวิตรณวิสุทธินิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนสิ้นความสงสัยในสภาวธรรม เพราะเห็นรูปนามพร้อมเหตุปัจจัย
🅞 ปัจจยปริคคหญาณ
🅞 กำหนดรู้เหตุและปัจจัยของนามและรูป
🅞 ว่าด้วยกรรม ๑๒ ชนิด
🅞 ปัจจยปริคคหญาณในชื่ออื่น
🔅ปริจเฉทที่ ๒๐ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนข้ามพ้นวิปัสสนูปกิเลส
🅞 กลาปสัมมสนญาณ
🅞 กำหนดรู้ขันธ์ ๕ โดยอาการ ๔๐
🅞 ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ ๙
🅞 วิธีกำหนดรู้ความเกิดของรูป
🅞 วิธีกำหนดรู้ความเกิดของอรูป
🅞 ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ทางรูปสัตตกะ
🅞 ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ทางอรูปสัตตกะ
🅞 มหาวิปัสสนา ๑๘
🅞 ตรุณอุทยพยญาณกถา
🅞 วิปัสสนูปกิเลส ๑๐
🅞 กำหนดมรรคและมิใช่มรรค
🔅ปริจเฉทที่ ๒๑ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนดำเนินไปตามวิถีของวิปัสสนาญาณ ๙
🅞 พลวอุทยพยญาณ หรืออุทยพยญาณอย่างแก่
🅞 ภังคานุปัสสนาญาณ
🅞 ภยตุปัฏฐานญาณ
🅞 อาที่นวานุปัสสนาญาณ
🅞 นิพพิทานุปัสสนาญาณ
🅞 มุญจิตุกัมยตาญาณ
🅞 ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
🅞 สังขารุเปกขาญาณ
🅞 วิโมกขกถา
🅞 วุฏฐานคามินีวิปัสสนา
🅞 อนุโลมญาณ
🔅ปริจเฉทที่ ๒๒ ญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ แสดงถึงวิธีการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนได้บรรลุอริยมรรค เป็นพระอริยบุคคล
🅞 โคตรภูญาณ
🅞 มัคคญาณ ญาณในอริยมรรค
🅞 ผลญาณ ญาณในอริยผล
🅞 ปัจจเวกขณญาณ
🅞 สกทาคามิมรรคญาณ
🅞 อนาคามิมรรคญาณ
🅞 อรหัตตมรรคญาณ
🅞 ความที่มรรคมีโพธิปักขิยธรรม ๓๗ บริบูรณ์
🅞 วุฏฐานะ ความออกไป
🅞 พลสมาโยคะ ความประกอบเสมอกันแห่งพละ
🅞 การละธรรมทั้งหลายด้วยมรรคญาณ
🅞 กิจในอริยสัจจ์ ๔
🅞 ปหาน ๓ อย่าง
🔅ปริจเฉทที่ ๒๓ ปัญญาภาวนานิสังสนิเทศ แสดงถึงอานิสงส์ของการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
🅞 ทำลายกิเลสต่างๆ
🅞 เสวยรสของพระอริยผล
🅞 สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้
🅞 บุพพกิจ ๔ ในการเข้านิโรธสมาบัติ
🅞 สำเร็จความเป็นอาหุในยบุคคลเป็นต้น
🙏🙇🙇🙇🙇🙇🙏