ปาจิตตีย์ ๙๒ สิกขาบท จัดเป็น ๙ วรรค
(มุสาวรรค ๑๐)
(ภูตคามวรรค ๑๐)
(ภิกขุโนวาทวรรค ๑๐)
(โภชนวรรค ๑๐)
(อเจลกวรรค ๑๐)
(สุราปานวรรค ๑๐)
(สัปปาณวรรค ๑๐)
(สหธัมมิกวรรค ๑๒)
(ราชวรรค ๑๐)
ภิกขุโนวาทวรรคที่ ๓ มี ๑๐ สิกขาบท ดังนี้
๑. โอวาทสิกขาบท
ความว่า ภิกษุที่สงฆ์ไม่สมมติไว้ให้สอนนางภิกษุณี พึงละเมิดบังคับสั่งสอนนางภิกษุณีด้วย🔎ครุธรรม(๖๕) ๘ ประการ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสอนด้วยธรรมสิ่งอื่นจากครุธรรม เป็นแต่อาบัติทุกกฏ
ความว่า ภิกษุที่สงฆ์ไม่สมมติไว้ให้สอนนางภิกษุณี พึงละเมิดบังคับสั่งสอนนางภิกษุณีด้วย🔎ครุธรรม(๖๕) ๘ ประการ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสอนด้วยธรรมสิ่งอื่นจากครุธรรม เป็นแต่อาบัติทุกกฏ
๒. สมมติสิกขาบท
ความว่า ภิกษุที่สงฆ์สมมติไว้ให้สอนนางภิกษุณีแล้ว ถ้าสอนนางภิกษุณีเวลาพระอาทิตย์อัสดงพลบค่ำไปแล้ว ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ความว่า ภิกษุที่สงฆ์สมมติไว้ให้สอนนางภิกษุณีแล้ว ถ้าสอนนางภิกษุณีเวลาพระอาทิตย์อัสดงพลบค่ำไปแล้ว ต้องอาบัติปาจิตตีย์
๓. อุปัสสยสิกขาบท
ความว่า ภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้ว แลไปสอนนางภิกษุณีถึงอาราม ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่นางภิกษุณีเป็นไข้ จึงไปสอนถึงอารามได้
ความว่า ภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้ว แลไปสอนนางภิกษุณีถึงอาราม ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่นางภิกษุณีเป็นไข้ จึงไปสอนถึงอารามได้
๔. อามิสสิกขาบท
ความว่า ภิกษุอันริษยาเสแสร้งแกล้งนินทากล่าวร้ายว่า ภิกษุทั้งหลายสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่🔎อามิส(๖๖) ลาภสักการะ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสำคัญในใจว่าจริงไม่แกล้งติเตียน หรือภิกษุผู้สอนเห็นแก่ลาภจริง ถึงจะติเตียนก็ไม่มีโทษ
ความว่า ภิกษุอันริษยาเสแสร้งแกล้งนินทากล่าวร้ายว่า ภิกษุทั้งหลายสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่🔎อามิส(๖๖) ลาภสักการะ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ถ้าสำคัญในใจว่าจริงไม่แกล้งติเตียน หรือภิกษุผู้สอนเห็นแก่ลาภจริง ถึงจะติเตียนก็ไม่มีโทษ
๕. จีวรทานสิกขาบท
ความว่า ภิกษุให้จีวรของตนแก่นางภิกษุณีที่มิใช่ญาติ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่แลกเปลี่ยนกัน ไม่มีโทษ
ความว่า ภิกษุให้จีวรของตนแก่นางภิกษุณีที่มิใช่ญาติ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่แลกเปลี่ยนกัน ไม่มีโทษ
๖. จีวรสิพพนสิกขาบท
ความว่า ภิกษุพึ่งเย็บเองหรือใช้ให้ผู้อื่นเย็บจีวรให้แก่นางภิกษุณีอันมิใช่ญาติ ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ความว่า ภิกษุพึ่งเย็บเองหรือใช้ให้ผู้อื่นเย็บจีวรให้แก่นางภิกษุณีอันมิใช่ญาติ ต้องอาบัติปาจิตตีย์
๗. อัทธานสิกขาบท
ความว่า ภิกษุกับนางภิกษุณีชักชวนกันเดินไปทางเดียวกันในระหว่างบ้านหนึ่ง ๆ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ทุกขณะล่วงระยะบ้านนั้น ๆ เว้นไว้แต่ไปทางไกลเป็นทางประกอบโจรภัย จึงไม่มีโทษที่จะต้องห้าม
ความว่า ภิกษุกับนางภิกษุณีชักชวนกันเดินไปทางเดียวกันในระหว่างบ้านหนึ่ง ๆ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ทุกขณะล่วงระยะบ้านนั้น ๆ เว้นไว้แต่ไปทางไกลเป็นทางประกอบโจรภัย จึงไม่มีโทษที่จะต้องห้าม
๘. นาวาภิรุหนสิกขาบท
ความว่า ภิกษุกับนางภิกษุณีชักชวนกันไปเรือลำเดียวกัน ขึ้นล่องตามลำแม่น้ำลำคลอง ทางใต้น้ำ เหนือน้ำ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ข้ามฟากไม่มีโทษ
ความว่า ภิกษุกับนางภิกษุณีชักชวนกันไปเรือลำเดียวกัน ขึ้นล่องตามลำแม่น้ำลำคลอง ทางใต้น้ำ เหนือน้ำ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ข้ามฟากไม่มีโทษ
๙. ปริปาจนสิกขาบท
ความว่า ภิกษุรู้อยู่ว่าบิณฑบาตของฉัน อันนางภิกษุณีเที่ยวขอร้อง ชักนำคฤหัสถ์ไปนิมนต์ให้สำเร็จด้วยกำลังตน แลฉันบิณฑบาตนั้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่คฤหัสถ์เริ่มขึ้นก่อนถ้าสิ่งของที่ภิกษุหรือสามเณรร้องบอก เป็นแต่อาบัติทุกกฏ
ความว่า ภิกษุรู้อยู่ว่าบิณฑบาตของฉัน อันนางภิกษุณีเที่ยวขอร้อง ชักนำคฤหัสถ์ไปนิมนต์ให้สำเร็จด้วยกำลังตน แลฉันบิณฑบาตนั้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่คฤหัสถ์เริ่มขึ้นก่อนถ้าสิ่งของที่ภิกษุหรือสามเณรร้องบอก เป็นแต่อาบัติทุกกฏ
๑๐. รโหนิสัชชสิกขาบท
ความว่า ภิกษุกับภิกษุณี ตัวต่อตัวเป็นสองด้วยกัน นั่งในที่ลับตามีฝาแลม่านกั้นเป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ความว่า ภิกษุกับภิกษุณี ตัวต่อตัวเป็นสองด้วยกัน นั่งในที่ลับตามีฝาแลม่านกั้นเป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์
จบภิกขุโนวาทวรรค ๑๐ สิกขาบท เท่านี้
🔅 ปาราชิก ๔
🔅 สังฆาทิเสส ๑๓
🔅 อนิยต ๒
🔅 นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐
(จีวรวรรค ๑๐)
(โกสิยวรรค ๑๐)
(ปัตตวรรค ๑๐)
🔅 ปาจิตตีย์ ๙๒
(มุสาวรรค ๑๐)
(ภูตคามวรรค ๑๐)
(ภิกขุโนวาทวรรค ๑๐)
(โภชนวรรค ๑๐)
(อเจลกวรรค ๑๐)
(สุราปานวรรค ๑๐)
(สัปปาณวรรค ๑๐)
(สหธัมมิกวรรค ๑๒)
(ราชวรรค ๑๐)
🔅 ปาฎิเทสนียะ ๔
🔅 เสขิยวัตร ๗๕
(สารูป ๒๖)
(โภชนปฎิสังยุตต์ ๓๐)
(ธัมมเทสนาปฎิสังยุตต์ ๑๖)
(ปกิณกะ ๓)
🔅 อธิกรณสมถะ ๗
🔅 ปาราชิก ๔
🔅 สังฆาทิเสส ๑๓
🔅 อนิยต ๒
🔅 นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐
(จีวรวรรค ๑๐)
(โกสิยวรรค ๑๐)
(ปัตตวรรค ๑๐)
🔅 ปาจิตตีย์ ๙๒
(มุสาวรรค ๑๐)
(ภูตคามวรรค ๑๐)
(ภิกขุโนวาทวรรค ๑๐)
(โภชนวรรค ๑๐)
(อเจลกวรรค ๑๐)
(สุราปานวรรค ๑๐)
(สัปปาณวรรค ๑๐)
(สหธัมมิกวรรค ๑๒)
(ราชวรรค ๑๐)
🔅 ปาฎิเทสนียะ ๔
🔅 เสขิยวัตร ๗๕
(สารูป ๒๖)
(โภชนปฎิสังยุตต์ ๓๐)
(ธัมมเทสนาปฎิสังยุตต์ ๑๖)
(ปกิณกะ ๓)
🔅 อธิกรณสมถะ ๗